องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการนำโครงการพัฒนาท้องถิ่นนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในภาพรวมที่นำไปดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
เทศบาล/เมืองพัทยานำแผนชุมชนนำมาบรรจุ ในแผนพัฒนาท้องถิ่น(พ.ศ. 2561 – 2565) เฉพาะปี พ.ศ. 2565
ข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง
1.มีการจัดทำและเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชนครบถ้วน ทุกกระบวนงานให้บริการที่เป็นปัจจุบัน และเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2.มีช่องทางสำหรับการรับฟังความคิดเห็นประชาชน อย่างน้อย 3 ช่องทาง โดยจะต้องมี 1 ช่องทางที่เป็น ในรูปแบบออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Facebook/Line เป็นต้น และสรุปผลข้อมูลที่ได้ให้ผู้บริหารท้องถิ่นทราบ
3.มีการประชุมรับฟังความคิดเห็น หรือการประชาคมท้องถิ่น และนำข้อมูลจากการรับฟังความคิดเห็นมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของประชาชน และแสดงผลการดำเนินการดังกล่าวให้สาธารณชนรับทราบทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Citizen Feedback)
องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น มีการดำเนินการตามมาตรการป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณา
การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับหน่วยงานของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม
1.มอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับองค์กร
2.จัดทำแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และต้องมีการสื่อสารแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
3.ติดตามประเมินผลการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดยติดตามระหว่างปฏิบัติงานหรือติดตามประเมินผลเป็นรายครั้งหรือใช้ทั้งสองวิธีร่วมกัน และเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
4.จัดทำรายงานผลตามแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง และเสนอผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ร้อยละของค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระดับความสำเร็จของการบันทึกปรับปรุง และแก้ไขข้อมูลทะเบียนประวัติอิเล็กทรอนิกส์ของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาลูกจ้าง ในระบบศูนย์บริการ
การบันทึกข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น ในระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่น และทะเบียน อปท.ให้ถูกต้องครบถ้วนและเป็ปัจจุบัน (อบจ. เทศบาล อบต. และเมืองพัทยา)
การพัฒนาความรู้ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่นในรอบปีที่ผ่านมา
การกำหนดสมัยประชุมสามัญ การเรียกประชุมสภาสมัยสามัญ และการนัดประชุมสภาสมัยสามัญ ประจำปี 2565 มีการดำเนินการ
1.ผู้บริหารท้องถิ่นได้เสนอญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายตามกำหนดเวลา (ภายในวันที่ 15 สิงหาคม) ได้ถูกต้อง หากมีเหตุไม่สามารถเสนอได้ทันภายในระยะเวลาที่กำหนด ผู้บริหารท้องถิ่นได้ชี้แจงเหตุผลความจำเป็นต่อประธานสภาท้องถิ่นก่อนวันที่ 15 สิงหาคม 2565 และรายงานให้ผู้กำกับดูแลทราบ
2.ประธานสภาท้องถิ่นได้ส่งร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณให้กับสมาชิกท้องถิ่นทุกคนทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุมสภาท้องถิ่น
3.มีการจัดเอกสารสำหรับใช้ประกอบการพิจารณาโครงการหรืองานต่าง ๆ ตามร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณให้ที่ประชุมสภาท้องถิ่นตรวจดูได้
4.สภาท้องถิ่นได้พิจารณาร่างข้อบัญญัติเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีแล้วเสร็จภายใน 15 กันยายน (เพื่อให้มีการประกาศใช้ให้ทัน 1 ตุลาคม)
การเสนอและพิจารณาคำแปรญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2566
การจัดทำรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
มีแผนที่แม่บทที่แสดงแนวเขตการปกครองและรูปแปลงที่ดิน เพื่อใช้ในการสำรวจและจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
ตรวจสอบทะเบียนคุมผู้ที่ได้ชำระภาษีภาษีป้ายในปีงบประมาณ 2565 และ 2564 แล้วนำมาคำนวณเปรียบเทียบ
รายรับจริงประกอบงบทดลอง ประจำปีงบประมาณ 2565 ของภาษีป้าย แล้วนำมาคำนวณ เพื่ อเป รียบเทียบประกอบ กับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี
ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีโดยนับจำนวนผู้ที่ได้ชำระค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในปี 2565 และ 2564 แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบ
รายรับจริงประกอบงบทดลอง ประจำปีงบประมาณ 2565 และ 2564 ของค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ.2535 แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบ
ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปีงบประมาณ 2565 และ 2564 ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)
ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปีงบประมาณ 2565 และ 2564 ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)
มีการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการรับชำระภาษี
1.รับชำระนอกสถานที่
2.รับชำระโดยโอนผ่านใบแจ้งหนี้/ใบแจ้งประเมินที่มีรหัสบาร์โค้ด/คิวอาร์โค้ด
3.รับชำระโดยโอนเข้าบัญชีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ไม่ใช้รหัสบาร์โค้ด/คิวอาร์โค้ด) หรือช่องทาง E-Service อื่น ๆ
การตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี(ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(e-LAAS)
การส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ก.บ.ท.)ประจำปีงบประมาณ 2565 ครบถ้วนถูกต้องตามอัตราและระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด (ภายในเดือนธันวาคม 2564)
ร้อยละของการซ่อมแซม/ปรับปรุง/ต่อเติมถนน ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามรายงานผลการตรวจสอบถนนประจำปี
ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่นถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ร้อยละของความยาวถนนลาดยาง/คอนกรีตต่อความยาวของถนนทั้งหมดในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565)
การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
ร้อยละของถนนทุกสายอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ และสามารถใช้งานได้
การตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภค ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ครบ ทุกระบบประปา
ร้อยละของครัวเรือนที่มีปริมาณน้ำประปา ใช้เพียงพอต่อความต้องการ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาในสังกัดให้มีระบบการประกันคุณภาพในสถานศึกษา
1.หลักสูตรการนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดการเรียนรู้ไปบูรณาการ ในการจัดการเรียนรู้
2.รายงานโครงการโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น “ปลูกผักรักษ์โลก”
3.มีการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปบูรณาการจัดการเรียนรู้
4.มีการดำเนินมาตรการความปลอดภัยในสถานศึกษา
4.1.คำสั่ง/ประกาศ/หนังสือสั่งการ
5.มาตรการปลอดบุรี่
6. โครงการเข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรม
จำนวนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค
การบริหารจัดการการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ในท้องถิ่น
จำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนในการดูแลสุขภาพประชาชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกฎหมายว่าด้วยการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ
องค์กรปกครองท้องถิ่นมีการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม EHA 1000 – 4000
1.มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เช่น จัดตรวจสุขภาพประจำปีสำหรับคนพิการ ออกหน่วยลงพื้นที่ตรวจสุขภาพคนพิการเป็นต้น
2. มีกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ การฝึกอาชีพเพื่อเสริมสร้างรายได้ให้กับคนพิการ เช่น การนวดแผนไทย การทำศิลปหัตถกรรมการเล่นดนตรี เป็นต้น
3.มีการส่งเสริมการจ้างงานคนพิการตามที่ระเบียบกฎหมายกำหนด
4. มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์ในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อคนพิการ เช่น การประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย โปสเตอร์อักษรเบลล์ ล่ามมือแปลภาษา เป็นต้น
การจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกภายในอาคารสถานที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานสำหรับคนพิการ
1.ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุ เช่น การจัดบริการศึกษาจัดกิจกรรมรณรงค์ให้สังคมหรือชุมชนตระหนักถึงความจำเป็นของการ เตรียมการเป็นผู้สูงอายุ คุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ กิจกรรมส่งเสริมและสร้างวินัยการออมในครัวเรือน ฯลฯ
2.ส่งเสริมการพัฒนาผู้สูงอายุ เช่น กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุส่งเสริมการฝึกอาชีพและจัดหางานที่เหมาะสมยกย่อง เชิดชู ประกาศเกียรติคุณแก่ผู้สูงอายุมีบริการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ สร้างเครือข่ายผู้สูงอายุ ฯลฯ
3.ด้านการคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ เช่น ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรับสวัสดิการด้านรายได้พื้นฐาน จัดตรวจสุขภาพประจำปีประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุทราบถึงสิทธิหรือสวัสดิการที่หน่วยงานต่าง ๆ จัดให้บริการ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับอุปกรณ์ในการดำรงชีวิตประจำวันตามความจำเป็น ฯลฯ
4.ด้านการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาด้านผู้สูงอายุและการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุเช่น ประสานงานผู้ทรงคุณวุฒิ หรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องมาให้คำแนะนำปรึกษาสนับสนุนให้บุคลากรในสังกัดฝึกอบรมกับหน่วยงานที่มีการจัดฝึกอบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ฯลฯ
5.ด้านการพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ เช่น จัดทำและพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้สูงอายุให้ถูกต้องและทันสมัยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานการส่งเสริม และพัฒนาผู้สูงอายุให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาผู้สูงอายุแห่งชาติ ฯลฯ
การจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุและคนพิการในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่
จำนวนลานกีฬา/สนามกีฬา ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการจัดให้มีเพื่อให้ประชาชนได้ใช้ในการแข่งขันกีฬาหรือออกกำลังกาย
65.จำนวนกิจกรรมหลักเพื่อการส่งเสริมกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. มีการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลด้านอาชีพ
2. มีการให้คำปรึกษา แนะนำ แนวทางการประกอบอาชีพ
3.มีการจัดหาหรือขอรับการสนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์/เครื่องมือ จากหน่วยงานภาคีเครือข่ายอื่น เพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพของประชาชน
4.มีการประสานและจัดหาภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อหนุนเสริมการประกอบอาชีพในด้านต่าง ๆ
5.มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพ
6.มีการจัดหาพื้นที่ในการจำหน่ายสินค้า/บริการ
7.มีการประชาสัมพันธ์สินค้า/บริการผ่านช่องทางต่าง ๆ
67.สนับสนุนหรือจัดให้มีการโฆษณา/ประชาสัมพันธ์ให้แก่นักท่องเที่ยวมีการดำเนินการ
การจัดทำฐานข้อมูลตลาด
การพัฒนาเพื่อยกระดับตลาดที่อยู่ในสังกัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ได้มาตรฐานใน 7 ด้าน
อปท. จัดทำฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นและเผยแพร่ให้ประชาชนได้นำไปใช้ประโยชน
ฐานข้อมูลพิ้นที่เสี่ยงภัย
แผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การตรวจสอบอุปกรณ์
ประชุมซักซ้อมและดำเนินการตามแผน
มีการออกประกาศเทศบาล
จัดโครงการฝึกซ้อมการป้องกันเหตุ
จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
การบริหารจัดการและดำเนินงานศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(ศปถ. อปท.)
การส่งเสริมความปลอดภัยในการสวมหมวดนิรภัยของเด็กปฐมวัยและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ มีการดำเนินการ
การกำจัดผักตบชวาและวัชพืชในแหล่งน้ำสาธารณะ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำฐานข้อมูลสภาพปัญหาน้ำเสียในพื้นที่
เทศบาลออกเทศบัญญัติควบคุมให้อาคารหมู่บ้านจัดสรรบ้านเรือน ที่พักอาศัย ติดตั้งบ่อดักไขมันและระบบน้ำเสียเฉพาะพื้นที่หรือระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน
จำนวนโครงการ/กิจกรรมของกลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) เพื่อขับเคลื่อนการจัดการเรื่องขยะมูลฝอย
การเก็บขนและกำจัดขยะแบบแยกประเภท
จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำนวัตกรรมท้องถิ่นที่เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีการคัดแยกขยะมูลฝอยชุมชนที่ต้นทาง
ร้อยละของครัวเรือนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการจัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พัฒนาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง
ทะเบียนต้นไม้
รายงานจัดกิจกรรมโครงการต้นไม้
รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการปลูกต้นไม้
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ
จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 และไฟป่าหมอกควัน
จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อส่งเสริมการผลิต การบริโภค และการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน โดยผ่านระบบการประเมินตนเองด้านเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน (Self-Assessment Report: SAR)
แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับ การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำรายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำรายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
93.จำนวนครัวเรือนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ดำเนินการติดตั้งบ่อดักไขมันครัวเรือน
1.เทศบัญญัติ ที่ควบคุมให้อาคาร หมู่บ้านจัดสรร บ้านเรือนที่พักอาศัย ติดตั้งบ่อดักไขมันและระบบน้ำเสียเฉพาะพื้นที่หรือระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน
2.จำนวนครัวเรือน (สำรวจครัวเรือนจริงที่มีผู้อยู่อาศัยในรอบปี) ในเขตเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล/เมืองพัทยา
3.ภาพถ่ายบ่อดักไขมันครัวเรือนที่ได้ดำเนินการติดตั้ง
1.มีการจัดทำแผนป้องกันการทุจริต
2.มีการประกาศให้ประชาชนทราบและเผยแพร่บนเว็บไซต์
3.มีการขับเคลื่อน ปี 2566 ราย 6 เดือน 3.1.การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยง (เพิ่มเติม)
4.รายงานผลการดำเนินการ รอบ 6 เดือน และ12 เดือน จากระบบe-planNACC
1.มีโครงการป้องกันการทุจริต โครงการปลูกจิตสำนึกต่อต้านการทุจริต ประจำปี 2565
2.การประกาศนโยบาย No Gift
3.มีการดำเนินการโครงการหรือกิจกรรมลักษณะส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลโดยผู้บริหารท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมจริงอย่างน้อย 3 โครงการ หรือ 3 กิจกรรม และแสดงผลการดำเนินงานดังกล่าวให้สาธารณชนรับทราบทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5.มีการจัดทำรายงานผลด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมให้ผู้บริหารท้องถิ่นรับทราบ
6.มีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการด้านส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม (ไม่รวมการประชาสัมพันธ์ตามข้อ 3.)
1.ให้มีและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมตรวจสอบการปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ทุกขั้นตอน
2.มีการจัดทำฐานข้อมูลเปิดภาครัฐ(Open Data) บนเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมีการปรับปรุงฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
3.การรับฟังความคิดเห็น การรับและตอบสนองเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ขอประชาชน โดยจะต้องมีช่องทางการรับฟังความคิดเห็นต่อการดำเนินงานผ่านทางออนไลน์หรือเว็บไซต์เป็นขั้นต่ำ
4.หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการรับฟังความคอดเห็นการรับและตอบสนองเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของประชาชน
5.หลักฐานที่มีการแสดงให้เห็นถึงการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมบริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
6. ระเบียบสภาท้องถิ่นว่าด้วยการดำเนินการของประชาชนในการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติ
7.หลักเกณฑ์/เว็บไซต์/หลักฐานการเผยแพร่/ถ่ายทอดการประชุมสภาท้องถิ่น
1.รายงานการถูกชี้มูล
1.ผลคะแนนประเมิน ITA
2.คะแนน ITA พ.ศ.2565
โทรศัพท์ , โทรสาร
036 347 125 , 036 347 126 ,
036 347 127
หมายเลขโทรศัพท์นายกเทศมนตรี
081 757 3888